Title Page

  • Document No.

  • Site conducted

  • Conducted on

  • Auditor by

  • Location
  • Auditees by

1. สถานที่ตั้งและอาคารผลิต

1.1 สถานที่ตั้ง

1.1.1 สถานที่ต้ังตัวอาคารและพื้นที่ใกล้เคียง มีลักษณะดังต่อไปนี้

  • ไม่มีการสะสมสิ่งของที่ไม่ใช้แล้ว

  • ไม่มีการสะสมสิ่งปฏิกูล

  • ไม่มีฝุ่น/ควันมากผิดปกติ

  • ไม่มีวัตถุอันตราย

  • ไม่พบสัตว์พาหะ

  • ไม่มีน้ำท่วมขัง หรือมีการป้องกัน

  • มีท่อหรือทางระบายน้ำนอกอาคารเพื่อระบายน้ำทิ้ง

1.2 อาคารผลิตมีลักษณะดังต่อไปนี้

1.2.1 อาคารผลิต

  • มีการแยกบริเวณผลิตอาหารออกเป็นสัดส่วนจากที่พักอาศัยและผลิตภัณฑ์อื่นๆ

  • มีพื้นที่เพียงพอในการผลิต

  • มีการจัดบริเวณการผลิตเป็นไปตามลำดับสายงานการผลิต แบ่งแยกพื้นที่การผลิตเป็นสัดส่วนเพื่อป้องกันการปนเปื้อน

1.2.2 พื้น ผนัง เพดานและประตู

  • พื้นคงทน เรียบ ทำความสะอาดง่าย มีความลาดเอียงเพียงพอ

  • ผนังคงทน เรียบ ทำความสะอาดง่ายและอยู่ในสภาพดี

  • เพดานคงทน เรียบ รวมทั้งอุปกรณ์สิ่งที่ยึดติดอยู่ด้านบนไม่ก่อให้เกิดการปนเปื้อน

  • ประตูปิดได้สนิทไม่มีรอยแตกร้าวหรือช่องว่างระหว่างประตูกับผนัง และมีม่านกั้นอีกชั้นหนึ่ง

  • 1.2.3 มีการระบายอากาศที่เหมาะสมสำหรับการปฏิบัติงาน

  • 1.2.4 อาคารผลิตมีมาตรการป้องกันการปนเปื้อนจากสัตว์และแมลง

  • 1.2.5 ไม่มีสิ่งของที่ไม่ใช้แล้วหรือไม่เกี่ยวข้องกับการผลิตอยู่ในบริเวณผลิต

  • 1.2.6 มีแสงสว่างเพียงพอสำหรับการปฏิบัติงาน

2. เครื่องมือ เครื่องจักร และอุปกรณ์ที่ใช้ในการผลิต

2.1 การออกแบบ

  • 2.1.1 ทำด้วยวัสดุผิวเรียบ ไม่เป็นสนิม ไม่เป็นแหล่งสะสมของจุลินทรีย์

  • 2.1.2 มีโปรแกรมทำความสะอาดสม่ำเสมอ มีประสิทธิภาพ

2.2 การติดตั้ง

  • 2.2.1 ถูกต้อง เหมาะสม อยู่ในตำแหน่งที่ทำความสะอาดง่าย

  • 2.2.2 มีสถานที่เก็บเหมาะสมและป้องกันการปนเปื้อน

2.3 การจัดเก็บ

  • 2.3.1 การเก็บเครื่องมือ เครื่องจักร และอุปกรณ์ต้องจัดเก็บในภาชนะปิดมิดชิด แยกเก็บเป็นสัดส่วน

  • 2.3.2 เครื่องมือ เครื่องจักรและอุปกรณ์ที่ทำความสะอาดแล้ว ต้องดูแลให้อยู่ในสภาพที่ใช้งานได้ดี

3. การควบคุมกระบวนการผลิต

3.1 วัตถุดิบ ส่วนผสมต่างๆ และภาชนะบรรจุ

  • 3.1.1 มีการคัดเลือก มีคุณภาพ และแสดงป้ายบ่งชี้ชัดเจน

  • 3.1.2 มีการล้างทำความสะอาดอย่างเหมาะสมในบางประเภทที่จำเป็น

  • 3.1.3 มีการเก็บรักษาอย่างเหมาะสม

  • 3.1.4 ภาชนะที่ใช้ใส่สินค้าในระหว่างผลิตจะต้องวางบน Pallete ไม่วางกับพื้น

3.2 ในระหว่างการผลิตอาหารมีการการควบคุมการปนเปื้อนข้าม

  • 3.2.1. มีการควบคุมการปนเปื้อนข้ามจากวัตถุดิบและส่วนผสม

  • 3.2.2. มีการควบคุมการปนเปื้อนข้ามจากบุคลากร

  • 3.2.3 มีการควบคุมการปนเปื้อนข้ามจากโครงสร้างและภาชนะอุปกรณ์

3.3 น้ำแข็งที่สัมผัสกับอาหารในกระบวนการผลิต

  • 3.3.1 มีคุณภาพมาตรฐานเป็นไปตามมาตรฐานของกระทรวงสาธารณสุข

  • 3.3.2 สถานที่เก็บ ภาชนะ อุปกรณ์ สะอาด และถูกสุขลักษณะ

3.4 ไอน้ำที่สัมผัสกับอาหารในกระบวนการผลิต

  • 3.4.1 มีคุณภาพมาตรฐานเป็นไปตามมาตรฐานของกระทรวงสาธารณสุข

  • 3.4.2สถานที่เก็บ ภาชนะ อุปกรณ์ สะอาด และถูกสุขลักษณะ

3.5 น้ำที่สัมผัสกับอาหารในกระบวนการผลิต

  • 3.5.1 มีคุณภาพหรือมาตรฐาน

  • 3.5.2สถานที่เก็บ ภาชนะ อุปกรณ์ สะอาด และถูกสุขลักษณะ

3.6 การป้องกันสิ่งปลอมปน

  • 3.6.1 มีการกำหนดบัญชีรายชื่ออุปกรณ์ต่างๆที่ใช้ในไลน์ผลิต

  • 3.6.2มีการตรวจเช็คการนำอุปกรณ์อื่นๆนอกเหนือจากอุปกรณ์ผลิตเข้าไลน์

  • 3.6.3 มีการตรวจสอบเครื่องแต่งกาย ตรวจสอบเส้นด้ายชุดฟอร์ม และกลิ้งผมก่อนเข้าไลน์

  • 3.6.4กรณีมีอุปกรณ์บางชิ้นที่เป็นแก้วหรือพลาสติกแข็งอยู่ภายในโรงผลิต จะต้องมีการห่อหุ้มด้วยพลาสติกและซีลให้เรียบร้อย

3.7 ผลิตภัณฑ์

  • 3.7.1 มีการตรวจสอบวิเคราะห์คุณภาพของผลิตภัณฑ์และเก็บบันทึกไว้อย่างน้อย 2 ปี

  • 3.7.2 มีการคัดแยกหรือทำลายผลิตภัณฑ์ที่ไม่เหมาะสม

  • 3.7.3 มีการเก็บรักษาอย่างเหมาะสม

  • 3.7.4 มีการขนส่งในลักษณะที่ป้องกันการปนเปื้อนและการเสื่อมสลาย

  • 3.7.5 มีบันทึกแสดงชนิด ปริมาณการผลิต และคุณภาพสินค้า

4. การสุขาภิบาล

  • 4.1 น้ำที่ใช้ภายในสถานที่ผลิตเป็นน้ำสะอาดตั้งอยู่ในที่ที่เหมาะสมและเพียงพอ

  • 4.2 มีวิธีการกำจัดขยะที่เหมาะสม

  • 4.3 มีการจัดการระบายน้ำทิ้งและสิ่งโสโครก

4.4 ห้องส้วมและอ่างล้างมือหน้าห้องส้วม

  • 4.4.1 ห้องส้วมแยกจากบริเวณผลิตหรือไม่เปิดสู่บริเวณผลิตโดยตรง

  • 4.4.2 ห้องส้วมอยู่ในสภาพที่ใช้งานได้และสะอาด

  • 4.4.3 ห้องส้วมมีจำนวนเพียงพอกับผู้ปฏิบัติงาน

  • 4.4.4 มีอ่างล้างมือพร้อมสบู่หรือน้ำยาฆ่าเชื้อโรค

  • 4.4.5 อ่างล้างมือและอุปกรณ์อยู่ในสภาพที่ใช้งานได้และสะอาด

  • 4.4.6 อ่างล้างมือมีจำนวนเพียงพอกับผู้ปฏิบัติงาน

4.5 อ่างล้างมือบริเวณผลิต

  • 4.5.1 มีสบู่หรือน้ำยาฆ่าเชื้อโรค

  • 4.5.2 อยู่ในสภาพที่ใช้งานได้และสะอาด

  • 4.5.3 มีจำนวนเพียงพอกับผู้ปฏิบัติงาน

  • 4.5.4 อยู่ในตำแหน่งที่เหมาะสม

  • 4.6 มีมาตรการในการป้องกันมิให้สัตว์หรือแมลงเข้าในบริเวณผลิต

5. การบำรุงรักษาและการทำความสะอาด

  • 5.1 อาคารผลิตอยู่ในสภาพที่สะอาด มีวิธีการหรือมาตรการดูแลทำความสะอาดอย่างสม่ำเสมอ

  • 5.2 เครื่องมือ เครื่องจักร และอุปกรณ์การผลิตมีการทำความสะอาดก่อนและหลังปฏิบัติงานอย่างสม่ำเสมอ

  • 5.3 มีบันทึกการทำความสะอาด เครื่องมือ เครื่องจักร และอุปกรณ์การผลิตที่สัมผัสกับอาหาร

  • 5.4 มีการเก็บอุปกรณ์ที่ทำความสะอาดแล้วให้เป็นสัดส่วน และอยู่ในสภาพที่เหมาะสม รวมถึงไม่ปนเปื้อนจากจุลินทรีย์ ฝุ่นละออง และอื่นๆ

  • 5.5 การลำเลียงขนส่งภาชนะและอุปกรณ์ที่ทำความสะอาดแล้ว อยู่ในลักษณะที่ป้องกันการ

  • 5.6 เครื่องมือ เครื่องจักร และอุปกรณ์การผลิตมีการดูแลบำรุงรักษาให้อยู่ในสภาพใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพสม่ำเสมอ

  • 5.7 มีการเก็บสารเคมีทำความสะอาดหรือสารเคมีอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการรักษาสุขลักษณะ และมีป้ายแสดงชื่อแยกให้เป็นสัดส่วนและปลอดภัย

6. บุคลากรและสุขลักษณะผู้ปฏิบัติงาน

  • 6.1 พนักงานในบริเวณผลิตอาหารไม่มีบาดแผลไม่เป็นโรคหรือพาหะของโรคตามที่ระบุในกฎกระทรวง

6.2 พนักงานที่ทำหน้าที่สัมผัสกับอาหารขณะปฏิบัติงานต้องปฏิบัติดังนี้

  • 6.2.1 แต่งกายสะอาด เสื้อคลุมหรือผ้ากันเปื้อนสะอาด

  • 6.2.2 มีมาตรการจัดการรองเท้าที่ใช้ในบริเวณผลิตอย่างเหมาะสม

  • 6.2.3 ไม่สวมใส่เครื่องประดับ

  • 6.2.4 มือและเล็บต้องสะอาด

  • 6.2.5 ล้างมือให้สะอาดทุกครั้งก่อนเริ่มปฏิบัติงาน

  • 6.2.6 สวมถุงมือที่อยู่ในสภาพสมบูรณ์และสะอาด หรือกรณีไม่สวมถุงมือต้องมีมาตรการดูแลความสะอาดและฆ่าเชื้อมือก่อนปฏิบัติงาน

  • 6.2.7 มีการสวมหมวกตาข่ายหรือผ้าคลุมผมอย่างใดอย่างหนึ่งตามความจำเป็น

  • 6.3 มีการฝึกอบรมคนงานด้านสุขลักษณะตามความเหมาะสม

  • 6.4 มีวิธีการหรือข้อปฏิบัติสำหรับผู้ไม่เกี่ยวข้องกับการผลิตที่มีความจำเป็นต้องเข้าในบริเวณผลิต

ลายมือชื่อผู้ตรวจสอบและรับการตรวจสอบ

ลายเซ็นต์ผู้ตรวจสอบ

  • ระบุลายเซ็นต์ผู้ตรวจสอบ

ลายเซ็นต์ผู้รับการตรวจสอบ

  • ระบุลายเซ็นต์ผู้รับการตรวจสอบ

The templates available in our Public Library have been created by our customers and employees to help get you started using SafetyCulture's solutions. The templates are intended to be used as hypothetical examples only and should not be used as a substitute for professional advice. You should seek your own professional advice to determine if the use of a template is permissible in your workplace or jurisdiction. You should independently determine whether the template is suitable for your circumstances.