Title Page
-
ชื่อพนักงานที่ถูกตรวจสอบ
-
ตำแหน่ง
-
สาขา
-
วันที่ทำการตรวจสอบ
-
ผู้ตรวจสอบ
-
แผนที่ของสถานที่ที่ทำการตรวจสอบ
-
ชื่อสถานที่ที่ตรวจสอบ (เช่น ชื่อลูกค้า)
-
หัวข้อการประเมินจะสอดคล้องกับการประเมินผลการปฏิบัติงานของพนักงาน (Technician Performance Assessment(TPA))
หากพนักงานอธิบายหรือปฏิบัติได้อย่างถูกต้องครบถ้วน ให้เลือก "ใช่"
หากอธิบาย/ปฏิบัติได้เป็นบางครั้ง ให้เลือก " บางครั้ง "
หากอธิบายหรือปฏิบัติไม่ได้เลย ให้เลือก " ไม่ใช่ "
หากหัวข้อนั้นไม่เกี่ยวข้องกับพนักงานหรือการตรวจสอบ ให้เลือก "ไม่เกี่ยวข้อง"
หัวข้อ A ข้อกำหนด , กฏ SHE ของบริษัท
-
A1) พนักงานพก ใบขับขี่ที่ยังไม่หมดอายุมาด้วยหรือไม่ (หากพนักงานเป็นผู้ขับรถไปปฏิบัติงาน)
-
A2) พนักงานทราบว่ามาตรฐานความปลอดภัยคืออะไร?
-
A3) พนักงานมีบัตร SINA ไว้ติดตัวหรือไม่ ?
-
A4)พนักงานสามารถอธิบายวัตถุประสงค์ของบัตร SINA ได้หรือไม่?
SectionB
หัวข้อ B : นโยบายไม่ยอมรับพฤติกรรมเสี่ยง (Zero Tolerance Policy)
-
B1)พนักงานทราบนโยบายไม่ยอมรับพฤติกรรมเสี่ยงทั้ง 9 ข้อหรือไม่ ?
-
B2)พนักงานทราบถึงระเบียบวินัยหากฝ่าฝืนนโยบายไม่ยอมรับพฤติเสี่ยงหรือไม่?
SectionC
หัวข้อ C : กฏทองของ SHE (SHE Golden Rules)
-
C1)พนักงานรักษาสมุดพกของกฏทองโดยพกติดตัว/เก็บไว้ในรถ/เก็บในสถานที่ทำงานหรือไม่
-
C2)พนักงานสามารถอธิบาย กฏทอง 5 ข้อ ของเรื่องเริ่ม-หยุด , การขับรถไปปฏิบัติงาน , การทำงานบนที่สูง และ การทำงานในพื้นที่ที่มียานพาหนะเคลื่อนที่ ได้หรือไม่?
-
C3 ) พนักงานทราบถึงบทลงโทษที่จะได้รับหากไม่ปฏิบัติตามกฏทองของ SHE หรือไม่?<br>(เช่นใบเตือน,ห้ามขับรถ,เลิกจ้าง,พักงานโดยไม่จ่ายค่าจ้าง เป็นต้น)
Section D
หัวข้อ D : การขับขี่
-
D1)พนักงานคาดเข็มขัดนิรภัยหรือไม่ ? (ทั้งผู้ขับและผู้โดยสาร)
-
D2) พนักงานไม่ใช้มือหยิบจับโทรศัพท์ขณะขับขี่และขณะใช้เครื่องมือ/อุปกรณ์การทำงาน?
-
D3)พนักงานไม่สูบบุหรี่ในรถบริการ/สถานที่บริการ/ขณะปฏิบัติงาน ?
-
D4 ) รถบริการจอดในพื้นที่ที่เหมาะสมหรือปลอดภัยหรือไม่ ?
-
D5)ยานพาหนะอยู่ในสภาพดีหรือไม่?<br>หากไม่สามารถใช้งานได้ปกติหรือมีปัญหา พนักงานได้รายงานหัวหน้างานหรือไม่<br><br>ระมัดระวัง : ร่องรอยบนตัวถัง , ยางชำรุด,กระจกหายหรือแตก,ไฟสัญญาณชำรุด <br>หมายเหตุ : อาการเสีย/การชำรุดใดๆ ที่มีผลต่อความปลอดภัย ต้องรายงานและซ่อมแซมทันที ซึ่งรวมถึง ยาง,เบรค,ไฟสัญญาณ,กระจก
-
กรุณาแนบภาพถ่ายประกอบ
Section E
หัวข้อ E : คู่มือยานพาหนะ
-
E1)พนักงานมีคู่มือยานพาหนะในรถบริการหรือไม่ ?
-
E2 ) พนักงานสามารถบอกกฏความปลอดภัย 3 กฏ ในคู่มือยานพาหนะได้?
-
E3) พนักงานทราบว่าต้องรายงานผู้ใดเมื่อเกิดอุบัติเหตุบนท้องถนน?
-
E4) พนักงานทราบความถี่ใน"การเดินตรวจสอบรอบๆยานพาหนะ"เพื่อตรวจสอบความเสียหายที่สามารถมองเห็นได้อย่างชัดเจน?<br>(คำตอบ ทุกวัน)
-
E5) พนักงานทราบว่าสามารถจะหาข้อมูลอันตราย ,ความปลอดภัยในการขนย้าย,จัดเก็บและการใช้งานสารเคมี จากที่ไหน?<br>(คำตอบ ข้อมูลความปลอดภัยของสารเคมี MSDS)
-
E6) พนักงานสามารถอธิบายได้ว่าสภาพการณ์ทำงานแบบใดจึงต้องสวมใส่เสื้อสะท้อนแสง?<br>(ให้พนักงานยกตัวอย่างมา 2 ข้อ)
-
E7) พนักงานสามารถอธิบายได้ว่าสถานที่ใดที่ต้องวางกรวยจราจร? <br>(ให้พนักงานยกตัวอย่างมา 2 ข้อ)<br>(เช่น ต้องผสมสารเคมีข้างทาง/ถนน , เมื่อยานพาหนะเสียบนถนน,เมื่อเปิดท่อน้ำทิ้ง เป็นต้น)
Section F
หัวข้อ F : อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล (Personal Protective Equipment (PPE) )
F1พนักงานสวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลพื้นฐานหรือไม่?
-
F1.a)แว่นตานิรภัย
-
F1.b)หน้ากากป้องกันสารเคมีและตัวกรองเหมาะสม?<br>(เฉพาะพนักงานกำจัดสัตว์รบกวนที่ปฏิบัติงานดังต่อไปนี้ พ่นควัน,สเปรย์,ฉีดพ่นละอองฝอย,อัดน้ำยา,ใช้งานสารละลาย)
-
F1.c)ผ้าปิดจมูกแบบมีตัวกรอง <br>(ในการทำงานกับสารเคมีแบบผง,ก้อนหรือแผนกสุขอนามัยที่ทำงานกับน้ำยาฆ่าเชื้อ,ถังผ้าอนามัย)
-
F1.d)ถุงมือยางกันสารเคมี<br>(ในทุกงานที่มีสัมผัสสารเคมี)
-
F1.e) รองเท้านิรภัย
-
F1.f)ชุดหมี (เฉพาะใช้งานเครื่องพ่นหมอกควันเท่านั้น)
-
F1.g) ที่ครอบหู (เฉพาะใช้งานเครื่องพ่นหมอกควันหรือพื้นที่ที่มีเสียงดัง,มีป้ายบังคับให้สวมใส่ที่ครอบหูเท่านั้น)
-
F1.h) เสื้อสะท้อนแสง
-
F2)สำหรับพนักงานที่ขี่รถจักรยานยนต์ไปทำบริการเท่านั้น ต้องสวมใส่เสื้อแจ็คเก็ต,หมวกนิรภัยและถุงมือสำหรับขี่จักรยานยนต์
-
F3) อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลอยู่ในสภาพที่ดีและเก็บไว้ในกล่อง/ถุง ซึ่งแยกจากสารเคมีและอุปกรณ์การทำงานหรือไม่?
Section G
หัวข้อ G : การปฏิบัติงานอย่างปลอดภัย
G1)ยกตัวอย่างสารเคมี 2 ตัวในยานพาหนะ/พื้นที่บริการ
-
G1.a) สารเคมีทั้ง 2 ตัวเป็นสารเคมีตามรายการสารเคมีที่ได้รับอนุมัติหรือไม่?
-
G1.b)พนักงานสามารถอธิบายได้หรือไม่ ว่าสารเคมีทั้ง 2 ตัวใช้ทำอะไรและมีอันตรายอย่างไร?
-
G1.c)พนักงานมีอุปกรณ์อันตรายส่วนบุคคลที่ถูกต้องในการใช้งานกับสารเคมีทั้ง 2 ตัว ?
-
G1.d)พนักงานมีข้อมูลความปลอดภัยของสารเคมี(MSDS)ในรถบริการหรือไม่? สุ่มตรวจ 2 สารเคมี
-
G2 )พนักงานทราบว่าข้อมูลความปลอดภัยของสารเคมี (MSDS)คืออะไร?
-
G4) พนักงานสามารถระบุอันตรายของสถานที่ทำงานได้อย่างน้อย 2 ข้อ ?
-
G5) พนักงานทราบข้อมูลการประเมินความเสี่ยงหน้างานหรือไม่? พนักงานอ่านและตระหนักถึงอันตรายที่ระบุในข้อมูลการประเมินความเสี่ยงหน้างาน?
-
G6)พนักงานใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลอย่างถูกต้องขณะทำบริการหรือไม่ ? <br>และปฏิบัติงานบนมาตรการความปลอดภัยอย่างเหมาะสม เช่น ใช้รถเข็นเพื่อลดการยกของ,ใช้เครื่องมือ/อุปกรณ์ที่อยู่ในสภาพที่ดี,หลีกเลี่ยงการสัมผัสกระแสไฟฟ้า,วางป้ายเตือน/กรวยจราจร
-
G7)พนักงานสวมใส่เสื้อสะท้อนแสงขณะทำงานในพื้นที่ที่มียานพาหนะเคลื่อนที่หรือไม่? <br>
-
G8)พนักงานสามารถอธิบายได้ว่าเมื่อทำงานกับบันไดต้องรักษาจุดสัมผัส 3 จุดอย่างไร?
-
G9)พนักงานใช้บันไดที่เหมาะสมและใช้งานได้อย่างถูกต้อง
Section H
หัวข้อ H : การตอบสนองสภาวะฉุกเฉิน
H1 ) มีอุปกรณ์เพื่อตอบสนองสภาวะฉุกเฉินในยานพาหนะหรือไม่ ?
-
H1.a) น้ำสะอาด 10 ลิตร
-
H1.b)ถังวัสดุดูดซับสารเคมีหกรั่วไหล <br>(ประกอบไปด้วย ถังพลาสติก,แผ่นวัสดุดูดซับ 2 แผ่น,ถุงมือกันสารเคมี 1 คู่,ผ้าปิดจมูก )
-
H1.c)ถังดับเพลิง
-
H1.d)อุปกรณ์ปฐมพยาบาล
-
H1.e)กรวยจราจร <br>(คันละ 2 อัน)
Section I
หัวข้อ I : ความปลอดภัยในการใช้สารเคมี,การจัดเก็บเครื่องมือ,อุปกรณ์และการทิ้งของเสีย
-
I1)สารเคมีมีฉลากที่ชัดเจน,เหมาะสมหรือไม่?
-
I2)จัดเก็บเรียบร้อยและแยกระหว่างอุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล/อุปกรณ์ทำงาน/สารเคมีหรือไม่<br>
-
I3)ภาชนะบรรจุสารเคมีเหมาะสม ปิดอย่างแน่นหนาและมีการล็อคส่วนเก็บสารเคมีหรือไม่?
-
I4)จัดเก็บบันไดในยานพาหนะอย่างแน่นหนาหรือไม่?
-
I5)ใช้บันไดที่บริษัทจัดหาให้ ประเภทและความสูงเหมาะสมหรือไม่?
-
I6)บันไดไม่มีความเสียหายหรือชำรุด?
-
I7)อุปกรณ์การทำงานได้รับการทำความสะอาดหลังจากทำบริการหรือไม่?
-
I8)กระป๋องสเปรย์จัดเก็บและภาชนะปิดหรือไม่ ? <br>(หลีกเลี่ยงการโดนแสงแดดและความร้อน /ประกายไฟ)
Section J
หัวข้อ J : การใช้เครื่องพ่นหมอกควันและการจัดเก็บ หากไม่มีการใช้งานเครื่องพ่นหมอกควันให้เลือก "ไม่เกี่ยวข้อง" ทุกข้อ
J1 : เครื่องพ่นหมอกควัน
-
J1.a) เก็บเครื่องพ่นหมอกควันอย่างปลอดภัยส่วนเก็บของด้านหลังยานพาหนะ<br> พนักงานมีป้ายตั้ง "คำเตือน ระวัง " อยู่ในยานพาหนะหรือไม่ ? และใช้ป้ายนี้หรือไม่?
-
J1.b) พนักงานมีความตระหนักเกี่ยวกับ ระยะเวลาในการทำให้เครื่องเย็นตัวลงหลังการใช้งาน (อย่างน้อย15 นาที)
-
J1.c) พนักงานปิดเครื่องและให้เครื่องเย็นลงอย่าง 15 นาที ก่อนเติมน้ำมัน,ปรับแต่งหรือขนย้าย?
-
J1.d)พนักงานสามารถอธิบายได้ว่า การรักษาระยะห่างจากกำแพงหรือสิ่งกีดขวางและท่อพ่น ควรเป็นอย่างไร ?<br>(คำตอบ เว้นระยะห่างอย่างน้อย 60 เซนติเมตรเพื่อป้องกันการเกิดเพลิงไหม้ เนื่องจากไม่สามารถระบายอากาศได้)
-
J1.e)ปริมาณสูงสุดของระดับน้ำมันเชื้อเพลิงและสารเคมีในถังควรเติมเท่าไร ?<br>(คำตอบ 3/4 ของถัง เท่านั้น)
-
J1.f) หากต้องทำบริการในพื้นที่ปิด ต้องระบายอากาศก่อนทำบริการเท่าไร?<br>(คำตอบ อย่างน้อย 5-10 นาที)
-
J1.g) ไม่พ่นหมอกควันในพื้นที่ปิด เช่น โรงพักขยะ เกินกี่นาที?<br>(คำตอบ เกิน 2 นาที)
Section K
หัวข้อ K : การทำบริการในห้องน้ำและการจัดเก็บ (เฉพาะพนักงานแผนกสุขอนามัยเท่านั้น พนักงานกำจัดสัตว์รบกวนให้เลือก "ไม่เกี่ยวข้อง" ทุกหัวข้อ)
K1) พนักงานบริการสามารถทำบริการได้ปลอดภัยหรือไม่?
-
K1.a) สว่านมือ (ทีมพนักงานบริการ)
-
K1.b) ทีมติดตั้งเครื่องสเปรย์ปรับอากาศ ติดตั้งเครื่องสูงกว่าพื้น 2เมตร ตามนโยบาย การทำงานบนที่สูงของบริษัทหรือไม่?
-
K2) การบริการและการติดตั้งเครื่องสเปรย์ปรับอากาศ - พนักงานบริการได้ตรวจสอบอุปกรณ์นั้นยึดติดกับผนังอย่างปลอดภัยแน่นหนา?
-
K3) พนักงานบริการทราบวิธีการยกของด้วยตนเองอย่างปลอดภัย?
-
K4) พนักงานบริการทราบการเตรียมการก่อนการบริการ เช่น<br>- ตั้งป้ายเตือน เช่น "มีคนปฏิบัติงาน" ในพื้นที่บริการ เพื่อป้องกันมิให้บุคคลภายนอกเข้าใกล้พื้นที่บริการ?<br>- ยึดสายไฟฟ้าไว้ที่พื้นด้วยเทป เพื่อป้องกันการสะดุดหกล้ม
-
K5) หากมีการวางสายไฟ หรือต่อไฟฟ้า โดย RI แทนลูกค้า การจัดการนั้นปฏิบัติโดยพนักงานที่ได้รับใบรับรองวุฒิทางไฟฟ้าหรือไม่ ? (เช่น การติดตั้งเครื่อง Scenting PS1200 , เครื่องเป่ามือ)
-
K6) พนักงานบริการทราบถึงภัยที่อยู่ตามสภาพแวดล้อมในพื้นที่ทำปฏิบัติหน้าที่ (เช่น การลื่นบนพื้นที่เปียกหรือการตกจากบันได)
-
K7) มีการจัดเก็บอย่างเป็นระเบียบและจัดเก็บอุปกรณ์แยกกันภายในยานพาหนะ?
Sign
-
ทำการประเมิน/ตรวจสอบโดย
-
ตำแหน่ง
-
ลายเซ็นต์ผู้ประเมิน/ตรวจสอบ
-
ลายเซ็นต์พนักงานผู้ถูกประเมิน/ตรวจสอบ