Title Page
-
Document No.
-
Audit Title
-
Client / Site
-
Conducted on
-
Prepared by
-
Location
-
Personnel
ข้อมูลทั่วไป
Group/Code/Project name
Contrac Owner
จำนวนพนักงาน บริษัท อิตัลไทยวิศวกรรม จำกัด.... คน
จำนวนพนักงานผู้รับเหมา... คน
จำนวนชั่วโมงการทำงานของโครงการทั้งหมด... ชั่วโมงการทำงาน
1. การบริหารจัดการด้านความปลอดภัย
-
1.1 นโยบายความปลอดภัยฯ
-
-สื่อสารให้พนักงานทราบ
-
-ติดประกาศ
-
1.2 โครงสร้างการบริหารงาน
-
-Organization
-
-แผนงานความปลอดภัยในการทำงานก่อสร้าง (FR-SAF-001.02 Rev.3
-
1.3 เจ้าหน้าที่ความปลอดภัย
-
-จป.ระดับหัวหน้างาน
-
-จป.ระดับบริหาร
-
-จป.ระดับเทคนิค
-
-จป.ระดับวิชาชีพ
-
-ขึ้นทะเบียนจป.
-
1.4 คณะกรรมการความปลอดภัย
-
-ประกาศ แต่งตั้ง รายชื่อ หน้าที่
-
-อบรมคณะกรรมการความปลอดภัย
-
-ประชุมคณะกรรมการความปลอดภัย 1ครั้งต่อเดือน
-
-สรุปรายงานการประชุมประจำเดือน
-
-ติดประกาศรายงานการประชุมที่บอร์ดประชาสัมพันธ์
-
1.5 การติดสัญลักษณ์และป้ายเตือนความปลอดภัย
-
-ป้ายหน้าโครงการถูกต้อง ครบถ้วน มองเห็นชัดเจน
-
-ติดป้ายเตือน ป้ายบังคับ ป้ายห้าม ตามลักษณะงานในพื้นที่การทำงาน
-
1.6 การแต่งกายและการสวมใส่อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล
-
-จัด PPE ที่ได้มาตรฐาน
-
-ควบคุมการสวมใส่ PPE ของพนักงาน
-
1.7 ติดประกาศสิทธิและหน้าที่ของนายจ้าง ลูกจ้าง
-
-สื่อสารให้พนักงานทราบและติดประกาศที่บอร์ดประชาสัมพันธ์
-
1.8 อบรมลูกจ้างที่เข้าทำงานใหม่ให้มีความรู้เกี่ยวกับข้อบังคับและคู่มือการปฎิบัติงาน
-
-คู่มือข้อบังคับความปลอดภัยในการทำงาน
-
1.9 จัดให้มีผู้ควบคุมงานทำหน้าที่ตรวจความปลอดภัยในการทำงานก่อนการทำงานและคณะทำงานทุกขั้นตอนเพื่อให้เกิดความปลอดภัย(Daily Inspection)
2. พื้นที่โครงการ
-
2.1 มีการรักษาความสะอาดในพื้นที่ก่อสร้างโดยจัดเก็บวัสดุและอุปกรณ์ให้เรียบร้อยและแยกของเหลือใช้หรือขยะทั้งที่เป็นอันตรายและไม่อันตราย
-
2.2 ติดป้ายเตือนอันตราย ณ ทางเข้า-ออก ของยานพาหนะทุกแห่ง และจัดให้มีผู้ให้สัญญาณ ในขณะที่มียานพาหนะ เข้า-ออก เขตก่อสร้าง
-
2.3 บริเวณเขตก่อสร้าง ทำรั้วสูงไม่น้อยกว่า 2 เมตร ที่มั่นคง แข็งแรง ไว้ตลอดแนวเขตก่อสร้าง หรือกั้นเขตด้วยวัสดุที่เหมาะสมและจัดป้าย"เขตก่อสร้าง"แสดงให้เห็นได้ชัดเจน
-
2.4 กำหนดเขตอันตรายในเขตก่อสร้าง โดยจัดรั้วหรือกั้นเขตด้วยวัสดุที่เหมาะสมและมีป้าย"เขตอันตราย"แสดงให้เห็นได้ชัดเจนและกลางคืนให้มีสัญญาณไฟสีส้มตลอดเวลา
3. เครื่องมือ เครื่องจักร อุปกรณ์
-
3.1 การตรวจสอบเครื่องมือ เครื่องจักร อุปกรณ์
-
-ตรวจสอบก่อนนำมาใช้งาน
-
-ตรวจสอบประจำเดือน
-
-มีบัญชีเครื่องมือ เครื่องจักร อุปกรณ์
-
-ตรวจสอบตามแบบตรวจสอบเครื่องมือ เครื่องจักร อุปกรณ์ แต่ละชนิด
-
3.2 สภาพเครื่องมือ เครื่องจักร อุปกรณ์
-
-ไม่ชำรุด พร้อมใช้งาน
-
-มีการต่อสายดินถูกต้อง
-
-เครื่องจักร ที่มีจุดหมุนต้องมีเครื่องป้องกันอันตราย
-
3.3 เครื่องเชื่อมไฟฟ้า
-
-มีทั้งดับเพลิงในขณะทำงาน
-
-สวมใส่ PPE ถูกต้อง ดังนี้ สวมกระบังหน้าลดแสงหรือแว่นตาลดแสง ถุงมือหนัง รองเท้าพื้นยางหุ้มส้นหรือรองเท้านิรภัย และแผ่นปิดหน้าอกกันประกายไฟ
-
-มีอุปกรณ์ป้องกันอันตรายจากสะเก็ดไฟ
-
-ไม่มีวัสดุที่ติดไฟง่าย วางอยู่ใกล้พื้นที่ทำงาน
-
-พื้นที่ทำงานสะอาดเรียบร้อย กั้นพื้นที่ทำงานและแสดงเขตอันตราย
-
3.4ชุดเชื่อม-ตัดแก๊ส
-
-ติดตั้งอุปกรณ์กันย้อนไว้ที่ถังบรรจุแก๊สทุกถัง
-
-สายลม สายแก๊ส ไม่แตกลายงา ไม่มีนอยรั่วหรือฉีกขาด
-
-ต้องผูกมัดถังลม ถังแก๊ส ให้มั่นคง
-
-ไม่มีวัสดุติดไฟง่ายวางอยู่ใกล้พื้นที่ทำงาน
-
-มีถังดับเพลิงในขณะทำงาน
-
-สวมใส่ PPE ถูกต้อง ดังนี้ สวมกระบังหน้าลดแสงหรือแว่นตาลดแสง ถุงมือหนัง รองเท้าพื้นยางหุ้มส้นหรือรองเท้านิรภัย และแผ่นปิดหน้าอกกันประกายไฟ
-
3.5 พื้นที่การปฎิบัติงานโดยใช้เครื่องจักรกลหนัก เช่น รถแบคโฮ,ปั้นจั่น,เครื่องตอกเสาเข็ม
-
-กันพื้นที่ทำงาน
-
-แสดงเขตอันตราย
-
-พื้นที่ทำงานสะอาดเรียบร้อย
4. การป้องกันและระงับอัคคีภัย
-
4.1 ไม่มีการจัดเก็บวัตถุไวไฟ / วัตถุระเบิด ไว้ในอาคารที่อยู่ระหว่างก่อสร้างเว้นแต่เก็บไว้ในที่ซึ่งปลอดภัยเท่าที่จำเป็นแก่การใช้งานประจำวันเท่านั้น
-
4.2 ติดข้อปฏิบัติเกี่ยวกับการดับเพลิงและอพยพหนีไฟให้เห็นชัดเจน
-
4.3 ติดป้ายหมายเลขโทรศัพท์ฉุกเฉินให้เห็นได้ชัดเจน
-
4.4 อุปกรณ์ระงับอัคคีภัย
-
-มีทั้งดับเพลิงถูกต้องตามประเภทของเชื้อเพลิง
-
-ตรวจสอบถังดับเพลิง สัญญาณแจ้งเหตุ อย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง
-
4.5 มีทางหนีไฟและบันไดหนีไฟ ป้ายแสดงทางหนีไฟทุกชั้นของอาคารซึ่งอยู่ในระหว่างการก่อสร้าง และต้องควบดูแลไม่ให้มีกองวัสดุ เครื่องจักร หรือสิ่งอื่นใด กีดขวางทางหนีไฟและบันไดหนีไฟ
-
4.6 การทำงานที่ก่อให้เกิดความร้อนหรือประกายไฟต้องมีผู้เฝ้าระวังไฟ (Fire Watch Man)
-
4.7 มีจุดสูบบุหรี่ ไม่พบเศษก้นบุหรี่ในบริเวณที่ทำงาน
-
- มีถังดับเพลิง
-
4.8 ทุกจุดที่มีงานเชื่อมโลหะ งานสีที่มีส่วนผสมของสารตัวทำละลายที่ไวไฟ หรือติดไฟง่ายที่อาจจะก่อให้เกิดอัคคีภัยได้หรือบริเวณที่มีการกักเก็บวัตถุไวไฟหรือวัตถุระเบิด ต้องมีทั้งดับเพลิงอย่างน้อย 1 ถัง
5. สารเคมีและวัตถุระเบิด
-
5.1 มี SDS ของสารเคมีอันตราย
-
5.2 ป้ายสัญลักษณ์ความปลอดภัย
-
-ป้ายห้ามสูบบุหรี่
-
-ป้ายสถานที่เก็บรักษา สารเคมีอันตราย ห้ามเข้าโดยไม่ได้รับอนุญาต
-
5.3 มีถังดับเพลิงที่นำมาใช้ได้อย่างสะดวกไม่มีสิ่งกีดขวาง
-
5.4 พนักงานสวมใส่ชุดทำงานและ PPE เหมาะสมกับการปฏิบัติงาน
-
5.5 การจัดเก็บสารเคมี
-
-ป้องกันการรั่วไหล
-
-จัดเก็บแยกจากวัสดุทั่วไป
-
-มีป้ายชี้บ่งและป้ายเตือน
-
-ไม่อยู่ในพื้นที่ที่มีประกายไฟ
6. นั่งร้าน
-
6.1 สภาพนั่งร้าน
-
-พื้นนั่งร้าน แข็งแรง ไม่ลื่น
-
-มีพื้นที่ยืนสำหรับทำงาน
-
-ไม่มีส่วนใดชำรุด
-
-มีบันไดที่แข็งแรง ทนทาน
-
-มีราวกันตกสูงไม่น้อยกว่า 90 เซนติเมตร
-
-แผงขอบกันตกสูงไม่น้อยกว่า 7 เซนติเมตร
-
6.2 การทำงาน บนนั่งร้าน หลายชั้น พร้อมกันมีสิ่งป้องกันไม่ให้เกิดอันตรายต่อผู้ที่อยู่ด้านล่าง
-
6.3 มีการตรวจสอบนั่งร้านก่อนอนุญาตให้ใช้งานและตรวจเป็นประจำอาทิตย์ละ 1 ครั้ง
7. งานเจาะและงานขุด
-
7.1 การเจาะ ขุดรู หลุม บ่อ คู มีราวกันหรือรั้วกันตก แสงสว่างและป้ายเตือนอันตราย และในเวลากลางคืนมีสัญญาณไฟสีส้มหรือปป้ายสีสะท้อนแสงเตือนอันตรายให้เห็นชัดเจน
-
7.2 การเจาะ ขุดรู หลุม บ่อ คู ที่จะพลัดตกให้มีแผ่นโลหะหรือวัสดุอื่นที่มีความแข็งแรงเพียงพอปิดคลุมและทำราวล้อมกันด้วยไม้หรือโลหะ
-
7.3 การทำงานในรูเจาะ รูขุด หลุม บ่อ คู ที่มีความลึกตั้งแต่2เมตร ขึ้นไป ต้องจัดให้มี
-
-ทางขึ้นลงที่สะดวก ปลอดภัย
-
-เครื่องสูบน้ำ
-
-ระบบการถ่ายเทอากาศและแสงสว่างที่เพียงพอ
-
-ผู้ควบคุมงานที่ผ่านการอบรมการช่วยเหลือและการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
-
-มีอุปกรณ์เพื่อสื่อสาร
-
-สายหรือเชือกช่วยชีวิตและเข็มขัดนิรภัย
-
7.4 กรณีที่ใช้ปั้นจั่น เครื่องจักรหนัก ปฏิบัติงาน หรือมีกองวัสดุหรืออุปกรณ์หนักอยู่บริเวณใกล้ปากรูเจาะ รูขุด หลุม บ่อ คู ต้องมีการป้องกันดินพังทลายโดยติดตั้ง Sheet pile หรือโดยวิธีอื่น
8. ไฟฟ้า
-
8.1 ผู้ปฏิบัติงาน
-
-ได้รับการฝึกอบรมการปฎิบัติงานกับไฟฟ้า
-
-สวมใส่ PPE ที่เป็นฉนวนไฟฟ้า
-
-มีวิศวกรควบคุมการทำงาน
-
8.2 มีแผนผังวงจรไฟฟ้าที่ได้รับการรับรองจากวิศวกรไฟฟ้า
-
8.3 มีสวิตตัดวงจรไฟฟ้าที่ได้รับการรับรองจากวิศวกรไฟฟ้า
-
8.4 มีระบบป้องกันกระแสไฟฟ้ารั่ว โดยต่อสายดินสำหรับหม้อแปลงไฟฟ้า แผงไฟฟ้า และอุปกรณ์ไฟฟ้าที่ติดตั้งอยู่กับที่ทุกชนิด ส่วนอุปกรณ์ไฟฟ้ากำลังอื่นให้ต่อสายดิน กับเต้ารับที่มีจุด ต่อลงดิน
-
8.5 ตู้ไฟฟ้าชั่วคราว
-
-ตรวจสอบทุกวัน
-
-มีป้ายเตือนระวังอันตรายจากไฟฟ้า
-
-มีผู้รับผิดชอบในการดูแลตู้ไฟฟ้าชั่วคราว
-
-มีสายดิน
-
-มีอุปกรณ์ป้องกันกระแสไฟฟ้ารั่ว
-
8.6 เครื่องกำเนิดไฟฟ้ามีเครื่องป้องกันกระแสไฟฟ้าเกินและถังดับเพลิงพร้อมใช้งานอยู่ในพื้นที่
-
8.7 ติดวิธีการปฐมพยาบาลและการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐานไว้ในบริเวณที่ทำงาน
9. การทำงานบนที่สูงหรือพื้นที่ต่างระดับ
-
9.1 ทำงานก่อสร้างบนพื้นที่ต่างระดับที่มีความสูงตั้งแต่ 1.5 เมตรขึ้นไปจัดให้มีบันไดหรือทางลาดพร้อมทั้งติดตั้งราวกันหรือรั้วการตกที่มั่นคง แข็งแรงเพื่อให้เกิดความปลอดภัย
-
9.2 ทำงานบนที่สูง จากพื้นดิน หรือพื้นอาคารตั้งแต่ 2 เมตรมีนั่งร้าน บันไดขาหยั่ง หรือม้ายืน ที่ปลอดภัย
-
9.3 ทำงานบนที่สูงตั้งแต่ 4 เมตรขึ้นไป มีราวกั้นหรือรั้วกั้นตก ตาข่าย สิ่งปิดกั้น สายหรือเชือกช่วยชีวิต และเข็มขัดนิรภัยอย่างใดอย่างหนึ่งเพื่อให้เกิดความปลอดภัย
-
9.4 ปล่องหรือช่องเปิด ที่อาจทำให้ลูกจ้างหรือสิ่งของพลัดตก
-
-จัดทำฝาปิดที่แข็งแรง
-
-ติดป้ายเตือนอันตราย
-
9.5 ทำงานในชั้นของอาคารหรือสิ่งก่อสร้างที่เปิดโล่งอาจพลัดตกลงมาได้มีการจัดทำราวหรือรั้วกั้นตก
-
-ราวกันตกหรือรั้วกั้นตกที่มีความสูงไม่น้อยกว่า 90 เซนติเมตร
-
-ติดป้ายเตือนอันตราย
10. การทำงานในที่อับอากาศ
-
10.1 ประเมินสภาพอันตรายในที่อับอากาศ หากมีสภาพอันตราย ต้องจัดให้มีมาตรการควบคุมสภาพอันตรายและเก็บหลักฐานไว้
-
10.2 ผลการตรวจสุขภาพของลูกจ้างในที่อับอากาศโดยมีใบรับรองแพทย
-
10.3 ต้องมีหนังสืออนุญาตให้ลูกจ้างทำงานในที่อับอากาศ ผลการประเมินสภาพอันตราย และผลการตรวจสุขภาพของผู้ปฏิบัติงาน โดยมีใบรับรองแพทย์ พร้อมสำเนาปิดไว้ที่ทางเข้า-ออกที่อับอากาศตลอดเวลาที่ลูกจ้างปฏิบัติงาน
-
10.4 ผู้ปฏิบัติงาน ผู้ช่วยเหลือ ผู้ควบคุม ผู้อนุญาตต้องผ่านการอบรมความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศ
-
10.5 ตรวจวัด บันทึกผลการตรวจวัด และประเมินสภาพอากาศในที่อับอากาศก่อนและระหว่างที่ลูกจ้างปฏิบัติงานในที่อับอากาศ (เก็บผลการตรวจวัดอย่างน้อย 1 ปี)
-
10.6 ผู้ควบคุมงานอับอากาศ ต้องจัดทำแผนการทำงานและป้องกันอันตราย และแผนช่วยเหลือผู้ปฎิบัติงาน
-
- ปิดประกาศ/แจ้งให้ทราบเป็นลายล
-
- ชี้แจงและซักซ้อมหน้าที่ความรับผิดชอบ วิธีปฎิบัติงานและวิธีการป้องกันอัน
-
10.7 จัดอุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล และอุปกรณ์ช่วยเหลือ/ช่วยชีวิตที่เหมาะสมกับลักษณะงาน
-
10.8 บริเวณทางเข้า-ออกที่อับอากาศ
-
-มีป้าย ที่อับอากาศ อันตรายห้ามเข้า
-
-สะดวกและปลอดภัย
-
-มีป้ายห้ามสูบบุหรี่ (ห้ามพกอุปกรณ์สำหรับจุดไฟ/ติดไฟ)
-
10.9 จัดให้มีสิ่งปิดกั้น มิให้บุคคลเข้า/ตกลงไปในที่อับอากาศ ที่มีลักษณะเป็นช่อง โพรง หลุม ถังเปิด
-
10.10 มีถังดับเพลิงที่มีประสิทธิภาพและจำนวนเพียงพอพร้อมที่จะใช้งานได้ทันทีเมื่อเกิดเหตุ
11. ปั้นจั่นและเครื่องตอกเสาเข็ม
-
11.1 มีเอกสารตรวจสอบรับรองจากวิศวกร
-
-ปจ.1 (ปั้นจั่นไม่เคลื่อนที่)
-
-ปจ. 2(ปั้นจั่นเคลื่อนที่)
-
11.2 ผู้ปฏิบัติงานผ่านการอบรมหลักสูตรความปลอดภัยในการทำงานกับปั่นจั่น 4 ผู้
-
11.3 การตรวจสอบและการบำรุงรักษา
-
-มีคู่มือการใช้งาน
-
-มีการตรวจสอบชิ้นส่วนและอุปกรณ์ก่อนการทำงานเป็นประจำ
-
-มีการตรวจสอบอุปกรณ์ ช่วยยก เช่น สลิง สเก็น Shackle
-
-มีป้ายบอกพิกัดน้ำหนักยก
-
-มีถังดับเพลิงที่พร้อมใช้งาน
-
11.4 ผู้ปฏิบัติงานตอกเสาเข็มผ่านการอบรมก่อนเริ่มงานตามคู่มือการใช้งานเครื่องตอกเสาเข็มและคู่มือการใช้สัญญาณสื่อสารระหว่างผู้ปฏิบัติงาน
-
11.5 มีผู้ให้สัญญาณสื่อสารในการตอกเสาเข็มระหว่างการทำงานตอบเสาเข็ม
-
11.6 มีแบบบันทึกและผลการตรวจสอบเครื่องตอกเสาเข็ม
12. รถยก
-
12.1 มีป้ายบอกพิกัดน้ำหนักยกตรงกับความสามารถในการยกสิ่งของ
-
12.2 ตรวจสอบรถยกก่อนการใช้งานทุกครั้ง
-
12.3 มีสัญญาณเสียงหรือแสงไฟเตือนภัยในขณะทำงาน
-
12.4 ติดตั้งกระจกนูน บริเวณทางแยก หรือทางโค้ง ที่มองไม่เห็นทางข้างหน้า
-
12.5 ผู้ทำหน้าที่เป็นผู้ขับรถยกต้องผ่านการอบรม
-
12.6 ควบคุมดูแลไม่ให้ผู้ปฏิบัติงานนำรถยกไปใช้งานใกล้สายไฟฟ้า
-
12.7 มีคู่มือการใช้งานการตรวจสอบและการบำรุงรักษา
13. ประกันสังคม และกองทุนเงินทดแทน
-
13.1 โครงการมีสำเนาใบเสร็จการจ่ายเงินสมทบประกันสังคมของลูกจ้างที่เข้ามาทำงานตามสั
-
13.2 กรณีที่โครงการ หรือผู้รับเหมาช่วงไม่ขึ้นทะเบียนประกันสังคม และกองทุนเงินทดแทน ได้มีการซื้อ ประกันภัยกลุ่มบุคคล ไว้แล้ว ( Workmen Compensation Insurance)
14. แรงงานต่างด้าว
-
14.1 แรงงานต่างด้าวมีเอกสารครบถ้วนดังนี้<br>
-
- หนังสือเดินทาง (Passport)
-
- บัตรประจำตัว (สีชมพู)
-
ใบอนุญาตทำงาน เล่มสีน้ำเงิน (Work Permit)
-
14.2 มีการอบรมแรงงานต่างด้าว เบื้องต้น เพื่อให้เข้าใจวิธีการปฎิบัติงาน อันตรายในการทำงาน และวิธีป้องกันอันตราย
15. หน้าที่จป.ประจำโครงการ
-
15.1 ชี้บ่งอันตรายและประเมินความเสี่ยงทุกกิจกรรมงาน
-
15.2 ประเมินความสอดคล้องกฏหมายครบทุกฉบับที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานของโครงการ
-
15.3 ส่งรายงาน จป.ว ต่อกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานพื้นที่ ครบทุกไตรมาส
-
15.4 บันทึกการชี้แจงมาตรฐานการปฎิบัติงานด้านความปลอดภัยฯสำหรับผู้รับจ้าง และผู้ขาย/ผู้ให้บริการ
-
15.5 ส่งแผนงานความปลอดภัยในการทำงานสำหรับงานก่แสร้าง (FR-SAF-001.02 Rev.3) มาที่หน่วยงานความปลอดภัยส่วนกลาง
16. อื่นๆ
-
16.1 ปฐมพยาบาลเบื้องต้น/อุปกร
-
16.2 ห้องน้ำแยกชาย-หญิง
-
16.3 อุปกรณ์สำหรับผู้มาติดต่อ
-
16.4 การเข้าร่วม Safety Talk ของPM/SM ประจำเดือน
-
16.5 การรายงานและสอบสวนอุบัติเหตุ
-
16.6 การได้รับอนุญาตก่อนทำงาน(เปิดใบอนุญาตทำงาน)
-
- การทำงานที่มีความร้อนและประกายไฟ
-
- การทำงานบนที่สูงตั้งแต่4เมตรขึ้นไป
-
- การทำงานยก เครื่องมือ เครื่องจักร อุปกรณ์ โดยใช้ปั่นจั่น
-
- การทำงานในสถานที่อับอากาศ